หน้าเว็บ

วันอังคารที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

หลอดไตรโอด Triode Vacuum Tube

จากการพัฒนาดัดแปลง ของฟอเรสต์ ( Lee De Forest ) โดยมีความคิดว่า ถ้าให้อิเล็กตรอนพุ่งจากแคโทด (K) ไปยังเพลต (P) โดยตรงแล้วจะทำให้เพลตเสียหายได้ง่าย ฉนั้นน่าจะมีวิธีบังคับอิเล็กตรอนได้ โดยใส่ตะแกรงโลหะเข้าไประหว่าเพลตกับแคโทด ซึ่งเรียกว่า กริด (Grid)




การทำงานของหลอดไตรโอด

เราให้ไฟลบแก่กริด (G) แต่เป็นลบจำนวนเพียงเล็กน้อยมาก ถึงกระนั้นก็ดี ยังสามารถทำให้อิเล็กตรอน (ซึ่งมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ) ที่พุ่งไปยังเพลตเปลี่ยนแปลงไปตามทฤษฎี ลบกับลบจะพลักกัน หรือประจุต่างกันจะดูดกันนั้นเอง แต่อย่างไรก็ตามก็ยังมีอิเล็กตรอนบางส่วนสามารถพุ่งไปยังเพลตได้ เพราะเราให้แรงดันไฟที่เพลตเป็นบวกมาก ๆ นั่นเอง

ข้อเสียของหลอดไตรโอด

จะสังเกตว่าระหว่างแคโทดกับกริดและระหว่ากริดกับเพลตนั้นเปรียบเสมือนมีคาปาซิเตอร์ไปต่อเอาไว้โดยที่เราไม่ต้องการ ซึ่งเมื่อใช้งานแล้วจะทำให้ประสิทธิภาพการขยายต่ำ เพราะฉนั้นจึงแก้ไขโโยไส่กริดเข้าไปอีกตัวหนึ่ง เรียกว่า สกรีนกริด (G2 "screen grid" หรือบางครั้งเรียกว่า "shield grid")
นั่นก็คือ หลอดเททโทด (Tetrode) นั่นเอง



TRIODE PARASITIC TERMINAL CAPACITORS


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น