วงจรเครื่องรับแบบ Super VXO แผ่นวงจรชุดนี้สามารถนำไปปรับใช้ได้หลากหลายความถี่ เพียงแค่เปลี่ยนอะใหล่บางตัวตามความถี่ที่ต้องการรับ
วงจรนี้ปรับปรุงมาจากวงจร Super VXO ตัวก่อน ๆ ที่เคยทำมาตัวก่อน ๆ ที่อาจจะมีปัญหา เช่น มีเสียงโกรกกรากเวลาจูนความถี่ มีสัญญาณรบกวนจากวิทยุกระจายเสียง ภาคขยายเสียงมีเสียงฮัม (บางเครื่อง)
วงจรแบบ Super VXO อาจจะมีข้อจำกัดคือรับสัญญาณได้ไม่กว้างมากนัก ไม่คลอบคลุมทั้งแบนด์ แต่มีข้อดีในเรื่องความถี่ที่คงที่ไม่เลื่อน ไม่แกว่งไปมาแบบที่ใช้วงจรกำเนิดความถี่แบบ LC และที่สำคัญถึงแม้ไม่มีเครื่องมือในการวัดความถี่ก็ยังสามารถประกอบได้
แผ่นวงจรมองจากด้านวางอุปกรณ์
ค่าอุปกรณ์จะเปลี่ยนแปลงตามความถี่ที่ต้องการรับ
7MHz version ** VXO**
C1 = 100pF (101)
C2 = 180pF (181)
C3 = 22pF (22 or 220)
C4 = 270pF (271)
C5 =15pF (15 or 150)
C6 = 100pF (101)
L1 , L2 = 1.5uH = 19 turns on T37-2 core (Red Core) L3 = 15 uH * Change 150 pF in VXO to 1000pF (102)
สำหรับ 14 MHz จะมีข้อมูลดังนี้
C1 = 15pF (15 or 150)
C2 = 22pF (22 or 220)
C3 = 1pF (1)
C4 = 30pF (30)
C5 =1.5pF (1.5)
C6 = 10pF (10 or 100)
L1 และ L2 = 1uH ขดลวด 18 รอบบนแกน T37-6 (แกนสีเหลือง)
หรือ 16 รอบบนแกน T37-2 (แกนสีแดง)
L3 = ขดลวดสำเร็จรูป 10 uH (น้ำตาล ดำ ดำ ทอง)
สำหรับ 18 MHz จะมีข้อมูลดังนี้
C1 = 10pF
C2 = 30pF
C3 = 1.2pF
C4 = 10pF
C5 =3pF
C6 = 33pF
L1 และ L2 = 1 uH ขดลวด 18 รอบบนแกน T37-6
L3 = ขดลวดสำเร็จรูป 5.6 uH (เขียว น้ำเงิน ทอง ทอง)
สำหรับ 21 MHz จะมีข้อมูลดังนี้
C1 = 10pF
C2 =ไม่ต้องใส่
C3 = 1pF
C4 = 47pF
C5 =1.5pF
C6 = 30 หรือ 33pF
L1 และ L2 = 1 uH ขดลวด 18 รอบบนแกน T37-6
L3 = ขดลวดสำเร็จรูป 5.6 uH (เขียว น้ำเงิน ทอง ทอง)
ทุก ๆ แบนด์จะรับได้กว้างหรือแคบจะขึ้นอยู่กับ L3 เราสามารถทดลองเปลี่ยนได้ ถ้าค่ามากจะรับได้กว้าง ค่าน้อยจะรับได้แคบ แต่ถ้ากว้างมากไป ความถี่ที่ได้จะไม่มีเสถียรภาพ แร่ความถี่สูงจะปรับได้กว้างกว่าความถี่ต่ำ
การต่อสายนำสัญญาณ
บัดกรีตัวถังแร่ลงกราวด์
ตัวอย่างการรับแบบสั้น ๆ
ขอเอาเครื่องต้นแบบไปลองเล่นก่อนครับ
ตอบลบ