** ในคู่มือของ Agilent บอกว่าการวัดด้วยวิธีนี้เหมาะกับความถี่ไม่เกินความถี่ 100 MHz ขาอุปกรณ์ควรสั้นที่สุด แต่ในตัวอย่างนี้เป็นการวัดแบบคร่าว ๆ เท่านั้น**
ทดลองวัดค่า Input และ Output Impedance โดยการวัดแรงดัน V1 และ V2
วงจรกำเนิดความถี่ที่ใช้ในการทดลอง http://hs8jyx.blogspot.com/2013/01/crystal.html
การทดลองที่ 1 ต้องการหา Impedance ของ C1 ที่ความถี่ 15.000 MHz C1 เป็น C ที่เราไม่ทราบค่า
วัดแรงดัน V1 ได้ 0.31Vpp และ V2 ได้ 0.13 Vpp ใช้ R1 470 โอห์ม
แปลงแรงดันให้เป็น rms = 0.3535 x Vpp
V1 = 0.31Vpp = 0.11Vrms
V2 = 0.13Vpp = 0.046 Vrms
หากระแสที่ไหลผ่านวงจร
Iin = (V1-V2) /R
Iin = (0.11-0.046)/470
Iin = 136.17 uA
เมื่อได้กระแสที่ไหลผ่านวงจรเราก็สามารถหา Imperdance ได้
Z= V2/Iin
Z= 0.046 / 136.17uA
Z= 337.8 โอห์ม
ในตัวอย่างนี้ใช้ C ค่า 30 pF มาทดลอง ค่าที่คำนวนได้เท่ากับ ??? pF
เราสามารถหาค่า C ได้จากสูตร
C = 1/(2PiXcF)
C = 1/ (2 x 3.14 x 337.8 x 15MHz)
C = 1/ 0.0318
C = 31.41pF
การทดลองที่ 2 ต้องการหา Impedance ของ L1 ที่ความถี่ 15.000 MHz L1 เป็น L ที่เราไม่ทราบค่า
ตัวอย่างวัดแรงดัน V1 ได้เท่ากับ 0.3Vpp V2 เท่ากับ 0.09Vpp ใช้ R1 470 โอห์ม
V1 = 0.30Vpp = 0.106Vrms
V2 = 0.09Vpp = 0.032 Vrms
หากระแสที่ไหลผ่านวงจร
Iin = (V1-V2) /R
Iin = (0.30-0.032)/470
Iin = 157.44 uA
เมื่อได้กระแสที่ไหลผ่านวงจรเราก็สามารถหา Impedance ได้
Z= V2/Iin
Z= 0.032 / 157.44 uA
Z= 203.25 โอห์ม
ในตัวอย่างนี้ใช้ L ค่า 2.7uH มาทดลอง ค่าที่คำนวนได้เท่ากับ ??? uH
เราสามารถหาค่า L ได้จากสูตร
L= XL/2PiF
L = 203.25 / (2 x 3.14 x 15 MHz)
L = 203.25 / 94247779.6
L= 2.15654 uH
การทดลองที่ 3 ต้องการหา Impedance ระหว่างขา 1 และ 2 ของ IC NE602AN ที่ความถี่ 15.000 MHz
V1 = 0.31 Vpp = 0.110 Vrms
V2 = 0.115 Vpp = 0.041 Vrms
หากระแสที่ไหลผ่านวงจร
Iin = (V1-V2) /R
Iin = 146.8 uA
เมื่อได้กระแสที่ไหลผ่านวงจรเราก็สามารถหา Impedance ได้
Z= V2/Iin
Z= 0.041 / 146.8 uA
Z= 279.3 โอห์ม
การทดลองที่ 4 ต้องการหา Impedance ระหว่างขา 1 และ 2 ของ IC NE602AN ที่ความถี่ 8.000 MHz
V1 = 1.4 Vpp = 0.459 Vrms
V2 = 0.5 Vpp = 0.177 Vrms
หากระแสที่ไหลผ่านวงจร
Iin = (V1-V2) /R
Iin = 676.595 uA
เมื่อได้กระแสที่ไหลผ่านวงจรเราก็สามารถหา Impedance ได้
Z= V2/Iin
Z= 0.177 / 676.595 uA
Z= 731.6 โอห์ม
รวมเรื่องราวเกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่น การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งเรื่อง เครื่องรับ เครื่องส่ง ระบบสายอากาศ การแพร่กระจายคลื่น สายนำสัญญาณ การตรวจซ่อมอุปกรณ์ทั่วไป รูปแบบการติดต่อสื่อสาร ฯลฯ ## hs8jyx สอบผ่านวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น 2539 ขั้นกลาง 2543 US Ham 2553 (ag6bd Extra Class) ## https://www.facebook.com/ag6bd วรวุฒิ ศรีทอง Line ID :: hs8jyx
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น