แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ สายอากาศ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ สายอากาศ แสดงบทความทั้งหมด

วันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2554

สายอากาศ 3 อี สำหรับนัก DX - 3E Portable Atnenna

สายอากาศ 3 อี สำหรับนัก DX - 3E Portable Atnenna

 เป็นสายอากาศมีทิศทาง อัตราการขยาย 7.3 dBd ขนาดเล็กกะทัดรัดเหมาะสำหรับหิ้วไปรับส่งในระยะไกลในย่านความถี่ 144-146 MHz


วันศุกร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2553

A Simple Transformer to Measure Your Antenna Current

วงจรหม้อแปลงแบบง่าย ๆ สำหรับวัดกระแสในระบบสายอากาศของคุณ

SWR doesn’t give you the whole story you need an RF current meter.
บทความโดย Paul Danzer, N1II (จากหนังสือ QST ฉบับ September 2009)

In a recent QST article, Eric Nichols, KL7AJ, presented a good idea monitoring the RF current into your antenna system to insure optimum tuning. Actually, it was the second time it was mentioned to me — George Peters, K1EHW, suggested the same thing to me several months before. At the end of Eric’s article, he proposed using a current transformer to do the monitoring.

Making a Current Transformer

This could be as simple as a turn of wire through a ferrite core and several turns of
wire around the core to form a transformer. The output of the transformer would be proportional to the current through the wire.

Making it Happen

This seemed simple enough, and the result of one hour’s work is shown in Figure 1. The core used was a T37-6. T37 designates the size (0.37 inches OD), picked so the insulated center conductor of RG-58 (or RG-59) would fit comfortably through the core center. The 6 designation relates to the frequency application of the ferrite mix, in this case 2 to 50 MHz.

Searching the ARRL suppliers’ data base, it appears that Alstar Magnetics offers this core; an alternate would be a Palomar F37 with mix 61. There is no criticality here — if you want to try it, strip a core from any old source — perhaps from a junked PC power supply or computer cable. It may not be the most efficient RF transformer ever built, but if it works it will do the job.

Wrap 20 turns of 24 gauge enameled wire as the transformer secondary. The secondary is connected to half wave rectifier consisting of a silicon diode (1N914), a 10 kΩ resistor as the load and a 0.1 μF capacitor as a filter (see Figure 2). A high-impedance voltmeter (the $10 variety) is connected to the two pin jacks to serve as an indicator.

The unit shown was tested with a 100 W transmitter on all bands from 80 through 10 meters. Performance across each band was relatively uniform, considering the probable variation of SWR and power though the feed line as the frequency was varied.

Hook up the rest of the circuit as shown in Figure 2 and connect a meter to the terminals.



Figure 1 — View of the transformer and simple circuitry that make up the relative RF current meter.

รูปที่ 1 โครงสร้างประกอบด้วยหม้อแปลงและวงจรแบบง่าย ๆ ลักษณะเดียวกับวงจรวัดกระแส RF

What we Have

The object here was not to get an exact measure of the antenna current. What I wanted
was a relative measure, so I could see if anything was going wrong, or use it as a way to
adjust my antenna tuner for the maximum signal to the antenna. Commercial stations use a current meter, mounted at the connection of the feed line to the antenna, to monitor output. Since they know the antenna impedance and their meters are calibrated, they can determine precise power into the antenna.

If you enjoy low power (QRP, typically 5 W or less) or very low power (QRPP, less than 1 W) operation, more turns may be needed and can easily be added. Similarly, if your meter does not have enough sensitivity, more turns may be called for. If after assembly the core is not firmly in place, held by the friction of the secondary on the primary wire, a drop of glue can be used to secure it all together.

Putting it to Use

The current meter consumes a miniscule fraction of the output power, so, can be left in the line, or removed when not in use. You may even find a meter case and a surplus meter at a hamfest that will work with it to give continuous indication without tying up your bench meter. I suggest writing the relative current indication for each band in your log. Later, if something seems amiss, it is then an easy job to compare your readings to the recorded ones to find out if the problem is in your antenna system.



Figure 2 — Schematic diagram of the relative RF current meter. Nothing about the circuit is critical. See text for parts information.

วันจันทร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

สายอากาศฮาร์เวฟ ชนิดพกพา - half wave antenna



ใช้ลายพริ้นแทนคอยล์ ไม่ต้องมีกราวนด์เพลน สร้างง่าย เสร็จได้ในชั่วโมงเดียว และราคาถูกมาก

ผมไม่แน่ใจว่าจะเรียกสายอากาศที่จะแนะนำต่อไปนี้เป็น "ต้น" หรือเป็น "เส้น" หรือเป็น "ขยุ้ม" ดีเพราะคุณเควิน เจมส์ G6VNT ผู้เป็นต้นคิดท่านทำมาสำหรับการม้วนเก็บโดยเฉพาะ คือตามลักษณะนามของสายอากาศก็ควรเรียกด้วยคำว่าต้น แต่รูปร่างมันในยามใช้งานดูคล้ายสายไฟจึงน่าเรียกว่าเส้น และเวลาเก็บหรือพกพามันสามารถม้วนติดตัวไปเป็นขยุ้ม ... แต่ก็ช่างเถอะเอาเป็นว่ามันสร้างง่าย พกพาง่าย และใช้งานได้ดี ราคาไม่เกิน 50 บาท คุณจ่ายแค่นี้กับเวลาอีกไม่ถึงชั่วโมง คุณก็จะได้สายอากาศที่ซุกไว้ตรงไหนก็ได้ เวลาฉุกเฉินก็เพียงแค่แขวนขึ้นไปบนยอดไม้ชายคา ช่วยในการรับส่งดีกว่าสายอากาศที่ติดอยู่กับเครื่องมาก

วันเสาร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

SWR ต่ำ แต่ทำไมส่งไม่ไกล

คำถาม :: ผมลองทำสายอากาศต้นหนึ่ง ปรับจูนจนได้ค่า SWR ไม่กระดิกเลย มันต้องมี Gain สูงมหาศาลแน่ ๆ ทำไมมันยังรับส่งไม่ดี




คำตอบ :: SWR กับ Gain หรืออัตราการขยายของสายอากาศ เป็นคนละเรื่องคนละหน้าที่


SWR เป็นตัวบ่งชี้ว่าระบบสายอากาศนั้น เรโซแนนท์แค่ไหนพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับที่วิ่งออกจากเครื่องส่งไปถึงสายอากาศนั้นวิ่งได้สะดวกมากน้อยเพียงไร เป็นเรื่องในขณะที่พลังงานยังไม่หลุดออกไปจากสายอากาศ



แต่ Gain หรือ อัตราการขยายนั้นเป็นลักษณะรูปร่างพลังงานเมื่อมันแผ่ออกมาจากสายอากาศแล้ว สายอากาศบางชนิดให้พลังงานรูปร่างอ้วนกลม แผ่ไปทุกทิศทุกทางรอบตัว สายอากาศบางตัวก็ให้รูปร่างแบบเตี้ยแผ่กว้าง บางตัวก็กลม ๆ ยืดยาว บางตัวก็ทิศทางเดียว เพื่อให้เราเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับความต้องการ

Gain หรืออัตราการขยายคือการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการใช้พลังงานไฟฟ้า ของสายอากาศแต่ละชนิด กับสายอากาศมาตราฐานตัวหนึ่ง ว่าถ้าจะทำงานให้ได้ผลเท่า ๆ กัน สายอากาศตัวใหนจะกินพลังงานน้อยกว่า

สายอากาศที่เรานิยมใช้เป็นไม้บรรทัดหลักคือสายอากาศ Dipole ถ้าสายอากาศต้นนั้นกิน (ใช้) พลังงานไฟฟ้า หรือเรียกอย่างชาวบ้าน ๆ ว่ากินวัตต์เท่ากับสายอากาศ Dipole แล้วแผ่พลังงานออกไปไกลเท่า ๆ กัน เราเรียกว่าไม่มีอัตราการขยาย คือมันขยายเท่ากันกับสายอากาศ Dipole

แต่ถ้ากินพลังงานน้อยกว่าครึ่งหนึ่ง แต่ยังแผ่พลังงานไปได้ไกลเท่ากัน ก็เรียกว่าสายอากาศต้นนี้มี Gain 3
dBd (dBd คือ Decibel over Dipole) ทุก ๆ เท่าตัวเรานับเป็น 3 dB (มันมีสูตรในการคำนวน ในที่นี้ขอละไว้)

การวัดแบบนี้ดูยุ่งยาก แต่จะใช้วิธีป้อนพลังงานเท่า ๆ กันแล้วดูว่าสายอากาศต้นไหนไปไกลกว่ากันไม่ได้ เพราะเมื่อป้อนพลังงานน้อยลงครึ่งหนึ่งมันไปได้เท่ากัน แต่พอป้อนพลังงานเท่ากัน ระยะทางที่ได้กลับไม่แน่นอน มันขึ้นอยู่กับสภาพบรรยากาศด้วย

ยังมีสายอากาศอีกชนิดหนึ่งที่เราใช้เป็นไม้บรรทัด ที่ได้จากการคำนวนว่า ถ้าเรามีสายอากาศไดโพลต้นหนึ่งที่เรโซแนนท์สมบูรณ์แบบที่สุด ตั้งอยู่ในสูญญากาศที่ไม่มีแรงต้านเลย เมื่อป้อนสัญญาณวิทยุเข้าไป พลังงานที่ได้ควรไปได้แค่ไหน แล้วเราก็เปรียบเทียบกับสายอากาศที่เราต้องการ อย่างนี้เรียกว่า dBi (Decibel over Isotrobic) ตัวเลข dBi จะสูงกว่า dBd อยู่ 2.15 เสมอ เพราะไม่มีแรงต้านใด ๆ แต่เป็น dB เปล่า ๆ คือดีบีคุย ไม่รู้เทียบกับอะไร

ถ้าเราต้องการให้สัญญาณยิงตรงไปจุดใดจุดหนึ่ง เราควรเลือกสายอากาศแบบทิศทางที่มีอัตราการขยายพอเหมาะ ถ้าต้องการติดต่อในระยะใกล้ และติดต่องานทั่วไปควรใช้สายอากาศแบบรอบตัว

Folded Dipole แก้ปัญหาไม่ได้ทุกกรณีหรอก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไม่ควรใช้เกิน 2 ห่วง มากห่วงเกินไปต้นทุนแพง ความสูญเสียในสายยนำสัญญาณมากไป หนักเสา สัญญาณแผ่ไปแบนมาก จนถ้าติดตั้งที่สูง ๆ จะรับสัญญาณไกล้ ๆ ไม่ได้ (อันนี้เป็นความคิดเห็นจากเอกสาร)

(ข้อมูลจาก 100 วัตต์ เล่มที่ 68 พ.ศ 2543)

Link ::http://www.hs8jyx.com

วันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ATNENNA TUNNER 144 MHz

ATNENNA TUNNER 144 MHz
Antenna tunner คืออุปกรณ์ที่ใช้ปรับ matching ของสายอากาศให้ได้ค่า SWR ต่ำสุดเมื่อเราออกอากาศด้วยความถี่ที่ไม่ตรงกับสายอากาศ เป็นตัวหลอกเครื่องรับส่งของเราว่ากำลังใช้สายอากาศที่มีอิมพิแดนซ์ เหมาะสมกับความถี่นั้น ๆ ...

ARRL VHF HANDBOOK

ATNENNA TUNNER สำหรับ 144 MHz.


Antenna Tuner คืออุปกรกณ์ที่ใช้ปรับ Matching ของสายอากาศให้ได้ค่า SWR ต่ำสุดเมื่อเราออกอากาศด้วยความถี่ที่ไม่ตรงกับสายอากาศ เป็นการหลอกวิทยุรับ - ส่ง เราว่ากำลังใช้สายอากาศที่มีอิมพิเดนซ์เหมาะสมกับความถี่นั้น ๆ ...


วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ทดลองสร้าง ATU เฉพาะย่านความถี่ กำลังส่งสูง

ทดลองสร้าง ATU เฉพาะย่านความถี่ กำลังส่งสูง

ลองมาดู โครงสร้างของ variable capacitor ก่อนนะครับ

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ air variable capacitor

ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ air variable capacitor อุปกรณ์สำคัญที่จะนำมาประกอบเป็น ATU

รูปแสดง ตำแหน่ง การหมุน ต่อค่า capacitance ที่จะเกิดขึ้น

รูป แสดง ตำแหน่ง การหมุน ต่อค่า capacitance ที่จะเกิดขึ้น ค่า capacitance จะมากที่สุดก็ต่อเมื่อชิ้นส่วนของ Roter และ Stator ซ้อนทับกันพอดี ตามรูป

สำหรับ ตัวอย่าง จะต่ออุปกรณ์แบบ T - Network โดยมีอุปกรณ์หลัก ๆ คือ variable capacitor แบบโลหะ 2 ตัว และ ขดลวด เบอร์ 16 ตัวอย่าง ทำ ATU ไว้ใช้ที่ย่าน 14 MHz ก็พัน 5 รอบเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 mm.

Schematic Diagram วงจร ATU ครับ

Schematic Diagram ครับ ค่า L จะเปลี่ยนไปตามความถี่ที่ต้องการนำไปใช้ ดังนี้ (ใช้ลวดเบอร์ 16 เส้นผ่านศูนย์กลาง 40 mm.)

  • ความถี่ 24-28 MHz พัน 3 รอบ
  • ความถี่ 18-21 MHz พัน 4 รอบ
  • ความถี่ 14 MHz พัน 5 รอบ
  • ความถี่ 7-10 MHz พัน 8 รอบ

อย่าลืมนะครับ ระหว่าง VC กับแผ่นพริ้นต้องมีฉนวนรองเอาไว้

ตัวอย่างการวาง อุปกรณ์ อย่าลืมนะครับ ระหว่าง VC กับแผ่นพริ้นต้องมีฉนวนรองเอาไว้

Jump สาย ระหว่าง C ทั้งสองตัว

Jump สาย ระหว่าง C ทั้งสองตัว เพื่อให้ได้ค่า capacitance ที่มากขึ้น แผ่นพริ้นควรจะเคลือบเอาไว้ ป้องกันสนิมเขียวเมือใช้ไปนาน ๆ (ผมใช้ยางสนผสมทินเนอร์ ทาเคลือบเอาไว้)

บทความที่เกี่ยวข้อง

ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.hs8jyx.com/html/high_power_atu.html

เอกสารเก่า ในวงการวิทยุสมัครเล่นไทย ที่ไม่อยากให้สูญหาย

เอกสารเก่า ในวงการวิทยุสมัครเล่นไทย ที่ไม่อยากให้สูญหาย


เอกสารเก่า ในวงการวิทยุสมัครเล่นไทย ที่ไม่อยากให้สูญหาย


เอกสารเก่า ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อนักวิทยุสมัครเล่น นับวันเอกสารเก่า ๆ เหล่านี้ก็หายากเต็มที หายไปกับความเก่าของหนังสือ ทางกระผมเลยเอามาเผยแพร่ในรูปของเอกสารคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สมาชิกรุ่นหลัง ๆ ได้นำมาอ่านกัน อย่างน้อย ๆ จะเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาวงการวิทยุสมัครเล่นของไทยเรา สมาชิกท่านอื่นที่มีเอกสารภาษาไทยที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ สามารถนำมาเผยแพร่ได้เช่นกันครับ ** เอกสารเหล่านี้เป็นผลงานของเจ้าของลิขสิทธิ์ โดยมีชื่อเจ้าของอยู่ภายในวงเล็บ เอกสารชุดใดไม่ต้องการให้เผยแพร่ สามารถแจ้งลบได้ที่นี่ **

ชุด Interface สำหรับส่ง รหัสมอร์ส แบบง่าย ๆ

ชุด Interface สำหรับส่ง รหัสมอร์ส แบบง่าย ๆ

อยากลง Contest ใน Mode CW แต่ไม่มีคีย์และไม่อยากหาคีย์เพราะขาดงบประมาณ มีเงินไม่ถึงร้อยบาทจะทำไงได้ครับ ?? นั่งคิดไป คิดมา เอ้ ..มาสร้างตัว interface แบบง่าย ๆ ดีกว่า

รายการอุปกรณ์

  • ทรานซิสเตอร์ แบบ NPN เบอร์ 2SC945 หรือเบอร์แทน (สามารถใช้ได้หลายเบอร์ บางเบอร์ตำแหน่งขาอาจจะไม่ตรงกันต้องดัดแปลงเอาเองครับ)
  • ตัวต้านทาน 1K (สี น้ำตาล ดำ แดง ทอง) ขนาด 1/4 วัตต์ หรือเล็กกว่า เพื่อความสะดวกในการติดตั้ง
  • สายต่อ ผมเลือกใช้สาย RG58 เพราะมีขนาดพอเหมาะ และมีอยู่ที่บ้านแล้ว ไม่ต้องไปหาชื้อ
  • DB9 ตัวเมีย
  • เจ็กไมโครโฟน แบบโมโน

รูปวงจร (Schematic Diagram)

ตำแหน่งขาทรานซิสเตอร์เบอร์ 2SC945

ตัวอย่างการต่อสาย

สายพร้อมใช้งาน

ทดลองนำไปต่อใช้งานจริง ร่วมกับโปรแกรม N1MM logger

ทดลองนำไปต่อใช้งานจริง ร่วมกับโปรแกรม N1MM logg

รายละเอียดเต็ม ๆ อ่านได้ที่ http://www.hs8jyx.com/html/easy_cw_interface.html

วันศุกร์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2552

CQ World Wide DX Contest SSB 2009 ของ HS8JYX

CQ World Wide DX Contest SSB 2009 ของ HS8JYX

ในวันที่ 24 - 25 ตุลาคม 2552 นี้ (00.00 UTC ของวันที่ 24 ถึง 23-59 UTC ของวันที่ 25) จะมีรายการ CQ World Wide DX Contest 2009 (SSB) เวลาในการแข่งขัน 48 ชั่วโมง จุดประสงค์เพื่อให้นักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลก ติดต่อกันให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ความถี่ที่ใช้ ตั้งแต่ 1.8 ถึง 28 MHz ยกเว้น WARC bands การแข่งขันมีทั้งประเภทเดี่ยวและทีม สำหรับผมแล้วคงหาสมาชิกมาร่วมทีมยาก ก็ต้องลงเดียวครับ แบบเดี่ยวก็ยังมีหลายประเภทย่อย ตามกำลังส่ง กำลังส่งสูงไม่เกิน 1500 วัตต์ กำลังส่งต่ำไม่เกิน 100 วัตต์ และQRP ไม่เกิน 5 วัตต์ครับ

สายอากาศที่เลือกใช้ มี 3 ชุดประกอบด้วย ไดโพล วางแบบธรรมดา 1 ชุด วางแบบ Inverted Vee 1 ต้น สุดท้ายเป็น Delta Loop

เป็นครั้งแรกที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการลง Log แผนที่ และ Gray line มีปัญหาบางอย่างที่ติดขัดอยู่บ้างเหมือนกันครับ

ทดลองต่อสายดิน สำหรับย่านความถี่ต่ำ ๆ (1.6 -3.5 MHz) แล้วรู้สึกว่าได้ผลดี ในการกำจัดสัญญาณรบกวนต่าง ๆ ออกไป

ผลการแข่งขัน สามารถติดต่อได้ 16 Zone ได้ดังรูปครับ

ผลการแข่งขัน สามารถติดต่อได้ 16 Zone ได้ดังรูปครับ

โปรแกรมที่สำคัญอีกตัวคือโปรแกรม Dx Atlas ที่สามารถดู Prefixes, Zones, Gray Line, Local time และอื่น ๆ

โปรแกรมที่สำคัญอีกตัวคือโปรแกรม Dx Atlas ที่สามารถดู Prefixes, Zones, Gray Line, Local time และอื่น ๆ

http://www.hs8jyx.com/html/cq_ww_dx_ssb_2009.html

วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ทดลองทำสายอากาศ cubical quad 7 E ไว้แข่งขัน (145 MHZ)

ทดลองทำสายอากาศ cubical quad 7 E ไว้แข่งขัน (145 MHZ)

ทุก ๆ ปีจะมีการแข่งขัน รายการต่าง ๆ ของนักวิทยุสมัครเล่น และรายการหนึ่งในนั้นก็คือ CQ World Wide VHF จุด ประสงค์ในการทำสายอากาศชุดนี้ก็คือ Gain สูง สามารถสู้คนอื่นเขาได้ ราคาถูก ยิ่งสามารถทำจากวัสดุเหลือใช้ยิ่งดี ผมจึงเลือกใช้แบบ QUAD ซึ่งทำไม่ยาก Gain สูงตามต้องการ จากการค้นหาข้อมูล ก็เจอโปรแกรม คำนวน สายอากาศ QUAD มีตั้งแต่ 2-7 E สามารถ Downlolad ได้ที่นี่

เมื่อดูจากโปรแกรมแล้ว 7E Boom ยาวแค่ 196.57 cm ถือว่าไม่ยาวมาก เหมาะสมกับการพกพาไปในวันแข่งขัน (Gain 15dBi)

ระยะ ห่างระหว่าง E ทั้ง 7 จะเท่ากันหมดคือ 31.75 cm สำหรับตรงกลาง Boom ผมจะใส่ข้อต่อ 3 ทาง เอาไว้ สำหรับเอาไว้ใส่ท่อ PVC อีกขุด ทำหน้าที่เป็นเสา

PVC สีขาวในรูป ผมใช้เส้นเล็กที่สุดเท่าที่จะพอหาได้ แถว ๆ บ้าน ก็เจอแบบ 5/8 นิ้ว ใช้ดอกสว่าน 5/8 นิ้ว เจาะจะแน่นพอดีเลยครับ ไม่จำเป็นต้องติดกาวให้ยุ่งยาก

สำหรับ สมาชิก ที่กลัวว่าจะเจาะแล้วไม่ตรง ผมมีวิธีการหนึ่งคือการทำต้นแบบเอาไว้ก่อนโดยใช้ปลายท่อ PVC ที่มีขนาดโตกว่า PVC ที่จะใช้เล็กน้อย ให้ตัดปลายออกมา ตามรูป

เมื่อ เราทำแบบไว้แล้ว เราก็ลากเส้นที่ PVC ตัว Boom ไว้เป็นแนวทาง จากนั้นก็เริ่มเจาะรูได้เลย รับรองครับ ตรงแน่นอน อย่าลืมว่า ต้นแบบนั้น ต้องแบ่งให้ได้ 4 ส่วนเท่า ๆ กันนะครับ

ปลาย Boom ก็ใช้เป็นจุดต่อสาย โดยการใส่ขั้ว PL-259 ตามรูป

จุดบัดกรีสายลวดทองแดง ให่ซ่อนเอาไว้ในท่อ PVC แล้วใช้ฝาปิด เพื่อความสวยงาม

อาจจะแบ่งเป็น 2 ท่อน เพื่อความสะดวกในการเคลื่อนย้าย

เตรียมพร้อม ทดลองออกอากาศ

จากการทดลอง ด้วยเครื่องมือถือ ผลเป็นที่น่าพอใจมาก ไว้ทดลองอีกรอบในวันแข่งขัน

สูตรการหาระยะ

สำหรับโครงงานสายอากาศชิ้นนี้ขอขอบคุณ HS8XCE ที่ช่วยสนับสนุนค่าใช้จ่ายทั้งหมด HS8VZW (TEL.08-9726-1367) ผู้ร่วมทดลอง

http://www.hs8jyx.com/html/cubical_quad.html

วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ทดลองทำสายอากาศ resonant feed-line dipole สำหรับย่าน 20 เมตร (14 MHz)

ทดลองทำสายอากาศ resonant feed-line dipole สำหรับย่าน 20 เมตร (14 MHz)

http://www.hs8jyx.com/html/rfd_antenna.html


ทดลองทำสายอากาศ resonant feed-line dipole สำหรับย่าน 20 เมตร (14 MHz)

ทดลองทำสายอากาศ resonant feed-line dipole สำหรับย่าน 20 เมตร (14 MHz)

สร้าง ATU (Antenna Tuning Unit) แบบ QRP ไว้ใช้เอง ในย่าน HF (14 - 30 MHz)

สร้าง ATU (Antenna Tuning Unit) แบบ QRP ไว้ใช้เอง ในย่าน HF (14 - 30 MHz)

ATU ชุดนี้ ผมได้ทดลองทำเล่น ตอนแรกจะเอาไว้ใช้สำหรับย่าน 20 เมตรอย่างเดียว แต่พอทำเข้าจริง ๆ เห็นว่ามันไม่ได้ทำยากอย่างที่คิด เลยใส่ Select Switch อีกตัว สำหรับความถี่ 18 - 28 MHz ด้วย สำหรับการพันขดลวด ผมได้พันบนแกน PVC ขนาด 1/2 นิ้ว

สร้าง ATU (Antenna Tuning Unit) แบบ QRP ไว้ใช้เอง ในย่าน HF (14 - 30 MHz)

แผ่น วงจรในต้นแบบอาจจะเห็นรอยบัดกรีหลายจุด จริง ๆ แล้วมันเป็นแผ่นวงจรเก่า เคยใช้งานมาแล้ว (ไม่อยากชื้อใหม่) ถ้าทำใหม่ บัดกรีแค่ไม่กี่จุดเองครับ

วาริเอเบิ้ล คาปาซิเตอร์ เราจะนำขาข้างทั้งสองมาต่อเข้าด้วยกัน (ขนานกัน เพื่อให้ได้ค่ามากขึ้น)

สร้าง ATU (Antenna Tuning Unit) แบบ QRP ไว้ใช้เอง ในย่าน HF (14 - 30 MHz)

  • 28 MHz = บัดกรีที่ประมาณรอบที่ 1.5
  • 24-27 MHz = บัดกรีที่ประมาณรอบที่ 2
  • 21-24 MHz = บัดกรีที่ประมาณรอบที่ 3
  • 14-15 MHz = บัดกรีที่ประมาณรอบที่ 4

สำหรับ ท่านที่จะทดลองทำอาจจะใช้ขดลวดขนาดอื่น ๆ ก็ได้ ให้ลองเปลี่ยนจุดบัดกรีดู ถ้าความถี่ต่ำลง จำนวนรอบก็จะมากขึ้น

บทความที่เกี่ยวข้อง

วันพุธที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551

สภาพอากาศต่อการแพร่กระจายคลื่นย่าน VHF

สภาพอากาศต่อการแพร่กระจายคลื่นย่าน VHF

ผลของสภาพอากาศต่อการแพร่กระจายคลื่น เป็นอีกศาสตร์หนึ่งที่ดูเหมือนจะลึกลับเอาการ สำหรับนักวิทยุสมัครเล่นมือใหม่ ทำไมบางครั้งยิ่งดึกยิ่งรับสัญญาณได้ดียิ่งขึ้น ? ทำไมตอนก่อนพระอาทิตย์ขึ้นสัญญาณที่รับได้มีการเปลี่ยนแปลงไปมาอย่างรวดเร็ว ? ทำไมเดือนนั้นเดือนนี้จึงรับสัญญาณทางไกลได้ดี ขณะที่บางเดือนรับสัญญาณได้แย่ลง ?

รูปแสดงความสำพันธ์ระหว่างความชื้นของอากาศและความแรงของสัญญาณที่รับได้

รูปแสดงความสำพันธ์ระหว่างความชื้นของอากาศและความแรงของสัญญาณที่รับได้

จากรูปจะแสดงให้เห็นว่า ถ้าความชื้นของสายอากาศในเส้นทางผ่าน ระหว่าง เครื่องรับและเครื่องส่ง มีค่าน้อยลงสัญญาณที่ได้จะแรงขึ้น ถ้าวันที่ฝนตก สัญญาณที่ได้จะลดลง

รูปแสดงความสำพันธ์ระหว่างความสูงของเมฆและความแรงของสัญญาณที่รับได้

รูปแสดงความสำพันธ์ระหว่างความสูงของเมฆและความแรงของสัญญาณที่รับได้

จากรูปจะแสดงให้เห็นว่า ถ้าระดับความสูงของเมฆสูงขึ้น สัญญาณจะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นอย่าง ช้า ๆ ซึ่งจะขัดแย้งกับความเชื่อที่ว่า ถ้าเมฆอยู่ต่ำจะทำหน้าที่เหมือนท่อนำคลื่น ทำให้สัญญาณไปได้ไกล และแรงขึ้น ผลการทดลองนี้จะสอดคล้องกับรูปแรก คือในตอนที่ฝนตกเมฆจะลอยลงมาต่ำ

รูปแสดงความสำพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความแรงของสัญญาณที่รับได้

รูปแสดงความสำพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความแรงของสัญญาณที่รับได้

จากรูปจะแสดงให้เห็นว่า ถ้าอุณหภูมิในช่วงเส้นทางผ่านของสัญญาณลดลง สัญญาณจะแรงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับความเชื่อเดิมที่ว่า สัญญาณจะแรงขึ้นในหน้าหนาวและ ในวันที่ท้องฟ้าแจ่มใส


อ่านต่อได้ที่นี่ครับ

สายอากาศแบบ collinear คืออะไรกัน

สายอากาศแบบ collinear คืออะไรกัน


สายอากาศ collinear (หรือ co-linear) พูดกันแบบง่าย ๆ ก็คือการนำเอาสายอากาศตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมาต่อขนานกัน เพื่อให้ได้อัตราการขยายที่สูงขึ้น โดยสายอากาศจะถูกจัดเรียงกันในแนวดิ่ง (mounted vertically) การ collinear สามารถทำได้สองแบบคือ การ collinear แบบ อนุกรม (Series fed collinear) แบบที่สองคือการ collinear แบบขนาน (Parallel fed collinear)หรืออาจจะเรียกว่าการ Stack กัน

ตัวอย่างการ collinear แบบ อนุกรม (Series fed collinear) นำสายอากาศ 5/8 Lamda มาต่ออนุกรมกัน 2 ชั้น เลยเรียกว่า สายอากาศ 5/8 2 ชั้น

ตัวอย่างการ collinear แบบ อนุกรม (Series fed collinear) นำสายอากาศ 5/8 Lamda มาต่ออนุกรมกัน 2 ชั้น เลยเรียกว่า สายอากาศ 5/8 2 ชั้น

ตัวอย่างการ collinear แบบ อนุกรม (Series fed collinear) นำสายอากาศ 5/8 Lamda มาต่ออนุกรมกัน 2 ชั้น เลยเรียกว่า สายอากาศ 5/8 2 ชั้น

ตัวอย่าง การ collinear แบบขนาน (Parallel fed collinear) หรืออาจจะเรียกว่าการ Stack กัน รูปตัวอย่าง นำสายอากาศ ไดโพล จำนวนสองต้นมาขนานกัน เลยเรียกว่า ไดโพล 2 Stack

ตัวอย่าง การ collinear แบบ อนุกรม (Series fed collinear)

กระแสบนสาย

  • รูป a แสดงกระแสบนสายตัวนำความยาว 2 Lamda
  • รูป b เป็นการจัดเฟสของสัญญาณเสียใหม่ ให้มีเฟสตรงกัน สัญญาณที่ได้จะเสริมกัน
  • รูป c เป็นการนำ stub มาใช้ในการจัดเฟส

อ่านต่อได้ที่นี่ครับ