HF signal strengths typically rise and fall over periods of a few seconds to several minutes, and rarely hold at a constant level for very long. Fading is generally caused by the interaction of several radio waves from the same source arriving along different propagation paths. Waves that arrive in-phase combine to produce a stronger signal, while those out-of-phase cause destructive interference and lower net signal strength. Short-term variations in ionospheric conditions may change individual path lengths or signal strengths enough to cause fading. Even signals that arrive primarily over a single path may vary as the propagating medium changes. Fading may be most notable at sunrise and sunset, especially near the MUF, when the ionosphere undergoes dramatic transformations. Other ionospheric traumas, such as auroras and geomagnetic storms, also produce severe forms of HF fading.
เพื่อนสมาชิกท่านใดที่ใช้เครื่องวิทยุย่าน HF ไม่ว่าวิทยุรับส่ง หรือเครื่องรับวิทยุคลื่นสั้นก็ตามจะสังเกตได้ว่า ระดับความแรงของสัญญาณที่รับได้จะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงอยู่ตลอดเวลา อาจจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว หรือว่า ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ อาการนี้เราเรียกเป็นภาษาฝรั่งว่า Fading สาเหตุก็มาจากสัญญาณจากเครื่องส่งวิทยุ เดินทางมาถึงเครื่องรับด้วยเส้นทางที่ต่างกัน ทำให้มาถึงเครื่องรับไม่พร้อมกัน ถ้าสัญญาณที่มาถึงมี phase หรือว่ามุมที่เหมือน (in-phase) กันมันก็จะเสริมกัน เรียกทำให้สัญญาณที่รับได้แรง บางครั้งแรงมากจนเพี้ยนไปเลย แต่ถ้าสัญญาณที่มาถึงเครื่องรับมีมีที่ต่างกัน out-of-phase สัญญาณก็จะหักล้างกันเอง แล้วแต่ว่าต่าง phase กันขนาดใหน ถ้ามันหักล้างกันหมด เครื่องรับก็จะไม่สามารถรับสัญญาณได้
รวมเรื่องราวเกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่น การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งเรื่อง เครื่องรับ เครื่องส่ง ระบบสายอากาศ การแพร่กระจายคลื่น สายนำสัญญาณ การตรวจซ่อมอุปกรณ์ทั่วไป รูปแบบการติดต่อสื่อสาร ฯลฯ ## hs8jyx สอบผ่านวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น 2539 ขั้นกลาง 2543 US Ham 2553 (ag6bd Extra Class) ## https://www.facebook.com/ag6bd วรวุฒิ ศรีทอง Line ID :: hs8jyx
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ HF signal แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ HF signal แสดงบทความทั้งหมด
วันพุธที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)