วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

เครื่องรับวิทยุ AM 7 ทรานซิสเตอร์

วงจรที่จะนำมาทดลองเล่นกันวันนี้เป็นชุดคิตเครื่องรับวิทยุ AM แบบ 7 ทรานซิสเตอร์ ของ Future kit (ราคา 360 บาท) ซึ่งหาชื้อได้ ตามร้านขายอะใหล่อิเล็คทรอนิกส์ ทั่วไป

เครื่องรับวิทยุ AM 7 ทรานซิสเตอร์

เครื่องรับวิทยุ AM 7 ทรานซิสเตอร์

สำหรับ การประกอบนั้น ก็ให้เริ่มจากการใส่อุปกรณ์ ที่มีความสูงน้อย ๆ ไปหาตัวที่มีความสูงมาก เพื่อความสะดวกในการประกอบ และขอให้สังเกตเรื่อง เบอร์และ การวางขาของทรานซิสเตอร์ด้วย ในที่นี้จะใช้ทรานซิสเตอร์ 3 เบอร์ด้วยกัน คือ 2SC3194 , 2SC9012 ,2SC9013

เครื่องรับวิทยุ AM 7 ทรานซิสเตอร์

ภาพ เมื่อประกอบเสร็จ

วงจร Front - End สำหรับเครื่องรับชุดนี้จะใช้ ทรานซิสเตอร์ตัวเดียว ทำหน้าที่ครบทุกอย่างคือ RF AMP ,MIXER และ LOCAL OSCILLATOR

ราย ละเอียดของวงจร เริ่มจากวงจร Front - End สำหรับเครื่องรับชุดนี้จะใช้ ทรานซิสเตอร์ตัวเดียว ทำหน้าที่ครบทุกอย่างคือ RF AMP ,MIXER และ LOCAL OSCILLATOR

รูปแสดง Q 1 ทำหน้าที่ในภาครับ RF AMP ,MIXER และ LOCAL OSCILLATOR

รูปแสดง Q 1 ทำหน้าที่ในภาครับ RF AMP ,MIXER และ LOCAL OSCILLATOR

ความถี่ที่ได้จากการ Mixer จะมีหลายความถี่ แต่ที่ต้องการคือความถี่ IF ที่มีค่าเท่ากับ 455 KHz สัญญาณนี้จะผ่านออกมาทางหม้อแปลง IF1

Q 2 และ Q3 ทำหน้าที่ ขยาย IF ถ้าสังเกตจะเห็นว่า วงจรของทรานซิสเตอร์ทั้งสองชุด จะคล้ายกัน การขยาย IF หลาย ๆ ครั้ง จะทำให้ได้สัญญาณที่ดีกว่า

รูปแสดง Q 2 และ Q3 ทำหน้าที่ ขยาย IF

รูปแสดง Q 2 และ Q3 ทำหน้าที่ ขยาย IF

IF transformer สังเกตว่าภายในจะมี Embeded Capacitor อยู่ด้วย

วงจร Detector วงจรนี้จะทำหน้าที่แยกสัญญาณเสียงออกมาจากคลื่นพาห์ (radio carrier) กระบวนการนี้เรียกว่า demodulation วงจร Detector จะอยู่หลังจากวงจรขยาย IF และก่อนหน้าวงจรขยาย AF ทั้งในระบบ AM และ FM

วงจร AGC (automatic gain control) ทำหน้าที่ ควบคุมอัตราการขยายของวงจรให้คงที่ ถ้าสัญญาณที่รับได้มีความแรงน้อย วงจร AGC จะเพิ่มอัตราการขยายให้มากขึ้น ในทางกลับกัน ถ้าสัญญาณที่รับได้มีความแรงสูง วงจรนี้ก็จะลดอัตราการขยายลง ทำให้สัญญาณที่รับได้ มีความแรงไกล้เคียงกันตลอด (สำหรับวิทยุสื่อสารย่าน HF บางรุ่นจะสามารถเปิด - ปิดระบบนี้ได้)

วงจร AGC ในเครื่องรับชุดนี้จะไปควบคุม อัตราการขยายของ Q2 เป็นหลัก แต่สำหรับ เครื่องรับที่มีคุณภาพสูง จะมีการควรคุมอัตราการขยายที่ภาค RF AMP ด้วยดังรูปด้านล่าง

ภาค ขยาย AF หรือ ภาคขยายเสียง โดยปกติเครื่องรับวิทยุ แบบนี้จะใช้ภาคขยายเสียงแบบง่าย ๆ อาจจะเป็นทรานซิสเตอร์ หรือ IC ก็ได้ มีกำลังการขยายไม่มากนัก

ทดลองรับสัญญาณ



http://hs8jyx.com/html/am_7tr_receiver.html

วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2551

เปิดฝา KENWOOD TM271 2 meter transceiver

เปิดฝา KENWOOD TM271 2 meter transceiver

เปิดฝา KENWOOD TM271

ด้านหน้า

เปิดฝา KENWOOD TM271

ด้านหลัง

เปิดฝา KENWOOD TM271

ด้านบนเมื่อเอากรอบพลาสติกออก

เปิดฝา KENWOOD TM271

ด้านล่าง

เปิดฝา KENWOOD TM271

กรอบพลาสติก

เปิดฝา KENWOOD TM271

วงจรภายใน

เปิดฝา KENWOOD TM271

เปิดฝา KENWOOD TM271

เปิดฝา KENWOOD TM271

VR 1 ใช้ปรับกำลังส่ง

เปิดฝา KENWOOD TM271

เปิดฝา KENWOOD TM271

http://www.hs8jyx.com/html/tm271.html

ช่างซ่อมจำเป็น ตอน เปิดฝา มารีนแบนด์ ICOM IC-M402 (VHF MARINE) 156.050 - 163.275 MHz

ช่างซ่อมจำเป็น ตอน เปิดฝา มารีนแบนด์ ICOM IC-M402 (VHF MARINE) 156.050 - 163.275 MHz

ช่างซ่อมจำเป็น ตอน เปิดฝา มารีนแบนด์ ICOM IC-M402

Frequency range:

  • Tx: 156.025 - 157.425 MHz
  • Rx: 156.050 - 163.275 MHz

ช่างซ่อมจำเป็น ตอน เปิดฝา มารีนแบนด์ ICOM IC-M402

ช่างซ่อมจำเป็น ตอน เปิดฝา มารีนแบนด์ ICOM IC-M402

ช่างซ่อมจำเป็น ตอน เปิดฝา มารีนแบนด์ ICOM IC-M402

ช่างซ่อมจำเป็น ตอน เปิดฝา มารีนแบนด์ ICOM IC-M402

ช่างซ่อมจำเป็น ตอน เปิดฝา มารีนแบนด์ ICOM IC-M402

http://www.hs8jyx.com/html/ic_m402.html


เปิดฝา Spender Commando 246 BM วิทยุซีบี CB เครื่องแดง

เปิดฝา Spender Commando 246 BM วิทยุซีบี CB เครื่องแดง

เปิดฝา Spender Commando 246 BM

เปิดฝา Spender Commando 246 BM

เปิดฝา Spender Commando 246 BM

เปิดฝา Spender Commando 246 BM

เปิดฝา Spender Commando 246 BM

เปิดฝา Spender Commando 246 BM

เปิดฝา ICOM IC 2200H ให้ชม

เปิดฝา ICOM IC 2200H ให้ชม

คุณสมบัติวิทยุ ICOM IC 2200-T

คุณสมบัติวิทยุ ICOM IC 2200-T

คุณสมบัติวิทยุ ICOM IC 2200-T

คุณสมบัติวิทยุ ICOM IC 2200-T

คุณสมบัติวิทยุ ICOM IC 2200-T

คุณสมบัติวิทยุ ICOM IC 2200-T

D 13 ไดโอดตัวนี้ถ้าถอดออกจะสามารถส่ง 136-174 MHz (เปิดแบนด์) ถ้าใส่กลับเข้าไปก็จะปิดแบนด์

http://www.hs8jyx.com/html/ic_2200.html


ทดลองทำสายอากาศ resonant feed-line dipole สำหรับย่าน 20 เมตร (14 MHz)

ทดลองทำสายอากาศ resonant feed-line dipole สำหรับย่าน 20 เมตร (14 MHz)

http://www.hs8jyx.com/html/rfd_antenna.html


ทดลองทำสายอากาศ resonant feed-line dipole สำหรับย่าน 20 เมตร (14 MHz)

ทดลองทำสายอากาศ resonant feed-line dipole สำหรับย่าน 20 เมตร (14 MHz)

สร้าง ATU (Antenna Tuning Unit) แบบ QRP ไว้ใช้เอง ในย่าน HF (14 - 30 MHz)

สร้าง ATU (Antenna Tuning Unit) แบบ QRP ไว้ใช้เอง ในย่าน HF (14 - 30 MHz)

ATU ชุดนี้ ผมได้ทดลองทำเล่น ตอนแรกจะเอาไว้ใช้สำหรับย่าน 20 เมตรอย่างเดียว แต่พอทำเข้าจริง ๆ เห็นว่ามันไม่ได้ทำยากอย่างที่คิด เลยใส่ Select Switch อีกตัว สำหรับความถี่ 18 - 28 MHz ด้วย สำหรับการพันขดลวด ผมได้พันบนแกน PVC ขนาด 1/2 นิ้ว

สร้าง ATU (Antenna Tuning Unit) แบบ QRP ไว้ใช้เอง ในย่าน HF (14 - 30 MHz)

แผ่น วงจรในต้นแบบอาจจะเห็นรอยบัดกรีหลายจุด จริง ๆ แล้วมันเป็นแผ่นวงจรเก่า เคยใช้งานมาแล้ว (ไม่อยากชื้อใหม่) ถ้าทำใหม่ บัดกรีแค่ไม่กี่จุดเองครับ

วาริเอเบิ้ล คาปาซิเตอร์ เราจะนำขาข้างทั้งสองมาต่อเข้าด้วยกัน (ขนานกัน เพื่อให้ได้ค่ามากขึ้น)

สร้าง ATU (Antenna Tuning Unit) แบบ QRP ไว้ใช้เอง ในย่าน HF (14 - 30 MHz)

  • 28 MHz = บัดกรีที่ประมาณรอบที่ 1.5
  • 24-27 MHz = บัดกรีที่ประมาณรอบที่ 2
  • 21-24 MHz = บัดกรีที่ประมาณรอบที่ 3
  • 14-15 MHz = บัดกรีที่ประมาณรอบที่ 4

สำหรับ ท่านที่จะทดลองทำอาจจะใช้ขดลวดขนาดอื่น ๆ ก็ได้ ให้ลองเปลี่ยนจุดบัดกรีดู ถ้าความถี่ต่ำลง จำนวนรอบก็จะมากขึ้น

บทความที่เกี่ยวข้อง