รวมเรื่องราวเกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่น การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งเรื่อง เครื่องรับ เครื่องส่ง ระบบสายอากาศ การแพร่กระจายคลื่น สายนำสัญญาณ การตรวจซ่อมอุปกรณ์ทั่วไป รูปแบบการติดต่อสื่อสาร ฯลฯ ## hs8jyx สอบผ่านวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น 2539 ขั้นกลาง 2543 US Ham 2553 (ag6bd Extra Class) ## https://www.facebook.com/ag6bd วรวุฒิ ศรีทอง Line ID :: hs8jyx
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ arrl แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ arrl แสดงบทความทั้งหมด
วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
My ARRL Member Card
บัตรสมาชิก ARRL รายปีครับ
สมัครสมาชิก ARRL จะได้รับนิตยสาร QST ด้วยครับ (เดือนละ 1 เล่ม)
สำหรับนิตยสาร QST ผมมองในแง่ของนักวิทยุสมัครเล่นแล้วคุ้มค่ามาก ราคาถูกเมื่อเทียบกับเนื้อหา รูปเล่มที่สวยงาม รวมค่าส่งแล้วก็ตกเล่มละ 100 กว่าบาท
นิตยสาร QST เก่า ๆ ในรูปแบบ PDF สามารถหาดาวน์โหลดได้ โดยไม่ต้องชื้อก็จริงอยู่ครับ แต่การอ่านบทความจากหน้าจอคอมหรือจะสู้อ่านจากหนังสือเป็นรูปเล่ม
วันเสาร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
CQ ย่าน 10,12,15 และ 17 มิเตอร์ เพื่อล่ารางวัล DXCC
สำหรับรางวัล DXCC (DX Century Club) นั้นต้องติดต่อให้ได้อย่างน้อย 100 ภูมิประเทศ (Entity) ในแต่ละประเภท
สำหรับผมจะเริ่มต้นที่ความถี่ 21 MHz โหมด CW กำลังส่งต้องไม่เกิน 50 วัตต์ สายอากาศที่ประกอบขึ้นเองเท่านั้น (Homebrew)
18.068-18.168 MHz (17 meters) The 17 meter band is similar to the 20 meter band in many respects, but the effects of fluctuating solar activity on F2 propagation are more pronounced. During the years of high solar activity, 17 meters is reliable for daytime and early-evening long-range communication, often lasting well after sunset. During moderate years, the band may open only during sunlight hours and close shortly after sunset. At solar minimum, 17 meters will open to middle and equatorial latitudes, but only for short periods during midday on north-south paths.
17 Meter ได้รับการยืนยันมา 4 ประเทศ
21.0-21.45 MHz (15 meters) The 15 meter band has long been considered a prime DX band during solar cycle maxima, but it is sensitive to changing solar activity. During peak years, 15 meters is reliable for daytime F2 layer DXing and will often stay open well into the night. During periods of moderate solar activity, 15 meters is basically a daytime-only band, closing shortly after sunset. During solar minimum periods, 15 meters may not open at all except for infrequent north-south transequatorial circuits. Sporadic E is observed occasionally in early summer and midwinter, although this is not common and the effects are not as pronounced as on the higher frequencies.
24.89-24.99 MHz (12 meters) This band offers propagation that combines the best of the 10 and 15 meter bands. Although 12 meters is primarily a daytime band during low and moderate sunspot years, it may stay open well after sunset during the solar maximum. During years of moderate solar activity, 12 meters opens to the low and middle latitudes during the daytime hours, but it seldom remains open after sunset. Periods of low solar activity seldom cause this band to go completely dead, except at higher latitudes. Occasional daytime openings, especially in the lower latitudes, are likely over north-south paths. The main sporadic E season on 24 MHz lasts from late spring through summer and short openings may be observed in mid-winter.
28.0-29.7 MHz (10 meters) The 10 meter band is well known for extreme variations in characteristics and a variety of propagation modes. During solar maxima, long-distance F2 propagation is so efficient that very low power can produce strong signals halfway around the globe. DX is abundant with modest equipment. Under these conditions, the band is usually open from sunrise to a few hours past sunset. During periods of moderate solar activity, 10 meters usually opens only to low and transequatorial latitudes around noon. During the solar minimum, there may be no F2 propagation at any time during the day or night.
Sporadic E is fairly common on 10 m, especially May through August, although it may appear at any time. Short skip, as sporadic E is sometimes called on the HF bands, has little relation to the solar cycle and occurs regardless of F layer conditions. It provides single-hop communication from 300 to 2300 km (190 to 1400 mi) and multiple-hop opportunities of 4500 km (2800 mi) and farther.
Ten meters is a transitional band in that it also shares someof the propagation modes more characteristic of VHF. Meteor scatter, aurora, auroral E and transequatorial propagation provide the means of making contacts out to 2300 km (1400 mi) and farther, but these modes often go unnoticed at 28 MHz. Techniques similar to those used at VHF can be very effective on 10 meters, as signals are usually stronger and more persistent. These exotic modes can be more fully exploited, especially during the solar minimum when F2 DXing has waned.
NCDXF/IARU Beacon ช่วยพยากรณ์สภาพอากาศได้ดี โดยสามารถ รับฟังได้ที่ความถี่ 18.110, 21.150, 24.930 MHz (ย่านอื่นไม่ขอกล่าวถึง) Beacon ตัวที่ผมได้ยินบ่อย ๆ คือ JA2IGY จาก Japan, RR9O จาก Russia, 4S7B จาก Sri Lanka เป็นต้น การส่ง จะส่งสลับกันไป ทั้ง 18 ตัว(ทั่วโลก) 5 ความถี่ (สลับกันไป ลองดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.ncdxf.org/beacon/beaconschedule.html) ด้วยความเร็วรหัสมอร์ส 22 คำ/นาที ส่ง Callsign ของสถานีนั้น ๆ ตามด้วย เสียง ดาห์ ยาว ๆ 4 ครั้ง โดยที่ ดาห์แรกจะส่งด้วยกำลังส่ง 100 วัตต์ ดาห์ที่สอง 10 วัตต์ ดาห์ที่สาม 1 วัตต์ และดาห์สุดท้าย 0.1 วัตต์ ให้เราฟังเอา ถ้าอากาศเปิดมาก ก็อาจจะได้ยินครบทั้งสี่ ดาห์ แต่ที่ผมฟัง ๆ ของญี่ปุ่นและรัสเซีย ได้ยินสูงสุดแค่ 3 ดาห์ครับ
สำหรับผมจะเริ่มต้นที่ความถี่ 21 MHz โหมด CW กำลังส่งต้องไม่เกิน 50 วัตต์ สายอากาศที่ประกอบขึ้นเองเท่านั้น (Homebrew)
ใน LoTW เฉพาะความถี่ย่าน 15 เมตร มียืนยันมา 4 ประเทศ จาก YC0NSI, JR2FJC, UN3GX, DU1IVT
JA1CTB
JR2FJC
ส่วนแบบ Mixed มียืนยันมา 35 ประเทศตามตาราง
สาเหตุที่ผมเลือกใช้ความถี่ 15 มิเตอร์ ก็เพราะว่า เป็นความถี่ที่เหมาะกับการใช้งานในเวลากลางวัน (ผมจะว่างช่วงบ่าย อากาศเปิดพอดี) และที่สำคัญสายอากาศไม่ยาวมากนัก (ได้โพลยาวประมาณ 7 เมตร)
การยืนยันโดย LoTW ง่าย สะดวก รวดเร็ว แต่ใช่ว่านักวิทยุสมัครเล่นทุกคนจะใช้ระบบนี้นะครับ ทำให้บาง QSO ไม่ได้รับการยืนยัน
ผลการติดต่อคร่าว ๆ
- วันที่ 12-02-2554 ติดต่อได้ 15 สถานี ส่วนมากเป็นสมาชิก ประเทศญี่ปุ่น
- วันที่ 15-02-2554 ติดต่อได้เพิ่มเติมอีก 7 สถานี จากประเทศไกล้ ๆ และได้ทดลองความถี่ 18 และ 24 MHz ด้วยครับ โดยใช้สายอากาศต้นเดิม จูนด้วย Homebrew ATU
- วันที่ 16-02-2011 ติดต่อได้ 6 สถานี
- วันที่ 17-02-2011 ติดต่อได้ 5 สถานี
- วันที่ 18 และ 19 -02-2011 ติดต่อได้ 8 สถานี โดยเฉพาะความถี่ 24 MHz
- วันที่ 20-02-2011 ติดต่อได้ 4 สถานี (สัญญาณรบกวนมาก)
- วันที่ 21-02-2011 ติดต่อได้ 2 สถานี สัญญาณรบกวนมาก)
- วันที่ 22-02-2011 ติดต่อได้ 31 สถานี (สัญญาณรบกวนหายไปบางช่วง) ติดต่อได้โดยเฉพาะความถี่ 18 MHz มีสถานีทางไกลเข้ามาด้วย
- วันที่ 23-02-2011 ติดต่อได้ 4 สถานี วันนี้ได้ทดลองหาสาเหตุของสัญญาณรบกวน และลองเปลี่ยนสายอากาศ จากแนวนอน เป็นแนวตั้ง แต่ยังไม่สามารถสรุปอะไรได้
- วันที่ 24-02-2011 ติดต่อได้ 17 สถานีบางช่วงมีสัญญาณรบกวนมาก
- วันที่ 25-02-2011 ไม่สามารถติดต่อใครได้เลย สัญญาณรบกวนมาก
- วันที่ 26-02-2011 ติดต่อได้ 28 สถานี
- วันที่ 27-02-2011 ติดต่อได้ 24 สถานี
- วันที่ 28-02-2011 ไม่สามารถติดต่อได้เลย
- วันที่ 01-03-2011 ติดต่อได้ 1 สถานี ตอนเช้ารับสัญญาณ Beacon ความถี่ 18 MHz ได้ดีมาก แต่ไม่มีโอกาสได้ใช้ความถี่ ตอนเย็นรับสัญญาณได้น้อยมาก
- วันที่ 02-03-2011 ติดต่อ 4 สถานี
- วันที่ 03-03-2011 ติดต่อได้ 11 สถานี
- วันที่ 04-03-2011 ติดต่อได้ 8 สถานี รวมทั้งความถี่ 28 MHz ด้วย
- วันที่ 05-03-2011 ติดต่อได้ 29 สถานี ความถี่ 28 MHz อากาศเปิดดีมาก
- วันที่ 06-03-2011 ติดต่อได้ 67 สถานี รวมทั้ง 2 สถานีจากประเทศอิตาลี
- วันที่ 07-03-2011 ไม่สามารถติดต่อได้เลย
- วันที่ 08-03-2011 ติดต่อได้ 11 สถานี โดยเฉพาะตอนเช้า ติดต่อทางอเมริกาได้หลาย QSO
- วันที่ 09-03-2011 ไม่สามารถติดต่อได้เลย
- วันที่ 10-03-2011 ติดต่อได้ 13 สถานี
- วันที่ 11-03-2011 ติดต่อได้ 7 สถานี
- วันที่ 12-03-2011 ติดต่อได้ 7 สถานี
- วันที่ 13-03-2011 ติดต่อได้ 46 สถานี
- วันที่ 14-03-2011 ติดต่อได้ 6 สถานี
- วันที่ 15-03-2011 ติดต่อได้ 6 สถานี
- วันที่ 16-03-2011 เดินทางไปนครศรีธรรมราช
- วันที่ 17-03-2011 ติดต่อได้ 7 สถานี
- วันที่ 18-03-2011 ติดต่อได้ 10 สถานี
- วันที่ 19-03-2011 ติดต่อได้ 17 สถานี
- วันที่ 20-03-2011 งดการติดต่อ
- วันที่ 21-03-2011 เดินทางกลับ จังหวัดกระบี่
- วันที่ 22-03-2011 ติดต่อได้ 2 สถานี งานค่อนข้างมาก
- วันที่ 23-03-2011 ติดต่อได้ 11 สถานี
- วันที่ 24-03-2011 ติดต่อได้ 2 สถานี วันนี้ความถี่เงียบมาก
- วันที่ 25-03-2011 ติดต่อได้ 1 สถานี
- วันที่ 26-03-2011 งดการ CQ ไปร่วมดูการสอบพนักงานวิทยุสมัครเล่นอเมริกา ที่จังหวัดสุราษ
- วันที่ 27-03-2011 ติดต่อได้ 4 สถานี
- วันที่ 28-03-2011 ติดต่อได้ 3 สถานี รวมไปถึงสถานี EA8AK ด้วย
- วันที่ 29-03-2011 ติดต่อได้ 29 สถานี แบบ QRP ได้ 2 สถานี (รวม 31 สถานี) สถานีทางไกลก็คือ OH8OR
- วันที่ 30-03-2011 งด CQ
- วันที่ 31-03-2011 ติดต่อได้ 21 สถานี โดยเฉพราะทางยุโรปได้หลายสถานี วันนี้ไฟดับ และฝนตกหนัก
- วันที่ 01-04-2011 ติดต่อได้ 4 สถานี รวมทั้งแบบ QRP ด้วยครับ
- วันที่ 02-04-2011 ติดต่อได้ 14 สถานี สถานีทางไกลคือ LA3WAAจาก Norway
- วันที่ 03-04-2011 ติดต่อได้ 6 สถานี
- วันที่ 04-04-2011 ติดต่อได้ 1 สถานีคือ V85SS
- วันที่ 05-04-2011 ติดต่อได้ 3 สถานี
- วันที่ 06-04-2011 ติดต่อได้ 22 สถานี วันนี้ติดต่อความถี่ 28 MHz ได้หลายสถานี ส่วนมากจะเป็น ทางยุโรป สถานีทางไกล เช่น GW3JXN (WALES) DJ9CW(Germany)
- วันที่ 07-04-2011 ติดต่อได้ 2 สถานี
- วันที่ 08-04-2011 ติดต่อได้ 2 สถานี
- วันที่ 09 และ 10-04-2011 แข่งขันรายการ Japan International DX Contest 2011 ติดต่อได้ รวม 86 สถานี
- วันที่ 12-04-2011 ติดต่อได้ 5 สถานีโดยความถี่ 14 MHz
- วันที่ 13-04-2011 ติดต่อได้ 4 สถานี มีสัญญาณรบกวนมาก
- วันที่ 14 และ 15-04-2011 ติดต่อได้ 18 สถานี ส่วนมากจะเป็นทางยุโรป
- วันที่ 16-04-2011 วันนี้ได้ CQ น้อย ติดต่อได้ 2 สถานี
- วันที่ 17-04-2011 ติดต่อได้ 8 สถานี ทดลองสายอากาศอีกต้น
- วันที่ 18-04-2011 ติดต่อได้ 7 สถานี
- วันที่ 21-04-2011 ติดต่อได้ 5 สถานี
- วันที่ 22-04-2011 ติดต่อได้ 7 สถานี
- วันที่ 23-04-2011 ติดต่อได้ 9 สถานี มีสัญญาณรบกวนมาก
- วันที่ 24-04-2011 ติดต่อได้ 5 สถานี ที่ความถี่ 18 MHz
- วันที่ 25-04-2011 ติดต่อได้ 71 สถานี เป็นสถานีทางยุโรปและอเมริกา ที่ความถี่ 18 MHz
- วันที่ 27-04-2011 ติดต่อได้ 110 สถานี
- วันที่ 29-04-2011 ติดต่อได้ 29 สถานี
JA1BPA
HA9PP
เพื่อไม่ให้การทดลองครั้งนี้เสียเปล่า เราลองมาเรียนรู้หลักการกันบ้าง เรื่องแรกควรเป็นรูปแบบการแพร่กระจายคลื่นของความถี่ที่ใช้ในการติดต่อ โดย ARRL 18.068-18.168 MHz (17 meters) The 17 meter band is similar to the 20 meter band in many respects, but the effects of fluctuating solar activity on F2 propagation are more pronounced. During the years of high solar activity, 17 meters is reliable for daytime and early-evening long-range communication, often lasting well after sunset. During moderate years, the band may open only during sunlight hours and close shortly after sunset. At solar minimum, 17 meters will open to middle and equatorial latitudes, but only for short periods during midday on north-south paths.
17 Meter ได้รับการยืนยันมา 4 ประเทศ
21.0-21.45 MHz (15 meters) The 15 meter band has long been considered a prime DX band during solar cycle maxima, but it is sensitive to changing solar activity. During peak years, 15 meters is reliable for daytime F2 layer DXing and will often stay open well into the night. During periods of moderate solar activity, 15 meters is basically a daytime-only band, closing shortly after sunset. During solar minimum periods, 15 meters may not open at all except for infrequent north-south transequatorial circuits. Sporadic E is observed occasionally in early summer and midwinter, although this is not common and the effects are not as pronounced as on the higher frequencies.
24.89-24.99 MHz (12 meters) This band offers propagation that combines the best of the 10 and 15 meter bands. Although 12 meters is primarily a daytime band during low and moderate sunspot years, it may stay open well after sunset during the solar maximum. During years of moderate solar activity, 12 meters opens to the low and middle latitudes during the daytime hours, but it seldom remains open after sunset. Periods of low solar activity seldom cause this band to go completely dead, except at higher latitudes. Occasional daytime openings, especially in the lower latitudes, are likely over north-south paths. The main sporadic E season on 24 MHz lasts from late spring through summer and short openings may be observed in mid-winter.
28.0-29.7 MHz (10 meters) The 10 meter band is well known for extreme variations in characteristics and a variety of propagation modes. During solar maxima, long-distance F2 propagation is so efficient that very low power can produce strong signals halfway around the globe. DX is abundant with modest equipment. Under these conditions, the band is usually open from sunrise to a few hours past sunset. During periods of moderate solar activity, 10 meters usually opens only to low and transequatorial latitudes around noon. During the solar minimum, there may be no F2 propagation at any time during the day or night.
Sporadic E is fairly common on 10 m, especially May through August, although it may appear at any time. Short skip, as sporadic E is sometimes called on the HF bands, has little relation to the solar cycle and occurs regardless of F layer conditions. It provides single-hop communication from 300 to 2300 km (190 to 1400 mi) and multiple-hop opportunities of 4500 km (2800 mi) and farther.
Ten meters is a transitional band in that it also shares someof the propagation modes more characteristic of VHF. Meteor scatter, aurora, auroral E and transequatorial propagation provide the means of making contacts out to 2300 km (1400 mi) and farther, but these modes often go unnoticed at 28 MHz. Techniques similar to those used at VHF can be very effective on 10 meters, as signals are usually stronger and more persistent. These exotic modes can be more fully exploited, especially during the solar minimum when F2 DXing has waned.
10 Meter ได้รับการยืนยันมา 11 ประเทศ
NCDXF/IARU Beacon ช่วยพยากรณ์สภาพอากาศได้ดี โดยสามารถ รับฟังได้ที่ความถี่ 18.110, 21.150, 24.930 MHz (ย่านอื่นไม่ขอกล่าวถึง) Beacon ตัวที่ผมได้ยินบ่อย ๆ คือ JA2IGY จาก Japan, RR9O จาก Russia, 4S7B จาก Sri Lanka เป็นต้น การส่ง จะส่งสลับกันไป ทั้ง 18 ตัว(ทั่วโลก) 5 ความถี่ (สลับกันไป ลองดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.ncdxf.org/beacon/beaconschedule.html) ด้วยความเร็วรหัสมอร์ส 22 คำ/นาที ส่ง Callsign ของสถานีนั้น ๆ ตามด้วย เสียง ดาห์ ยาว ๆ 4 ครั้ง โดยที่ ดาห์แรกจะส่งด้วยกำลังส่ง 100 วัตต์ ดาห์ที่สอง 10 วัตต์ ดาห์ที่สาม 1 วัตต์ และดาห์สุดท้าย 0.1 วัตต์ ให้เราฟังเอา ถ้าอากาศเปิดมาก ก็อาจจะได้ยินครบทั้งสี่ ดาห์ แต่ที่ผมฟัง ๆ ของญี่ปุ่นและรัสเซีย ได้ยินสูงสุดแค่ 3 ดาห์ครับ
วันพุธที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2554
Amateur EME Milestones
Amateur EME Milestones
1953 W3GKP and W4AO detect lunar echoes on 144 MHz
1960 First amateur 2-way EME contact: W6HB works W1FZJ, 1296 MHz
1964 W6DNG works OH1NL, 144 MHz
1964 KH6UK works W1BU, 432 MHz
1970 WB6NMT works W7CNK, 222 MHz
1970 W4HHK works W3GKP, 2.3GHz
1972 W5WAX and K5WVX work WA5HNK and W5SXD, 50 MHz
1987 W7CNK and KA5JPD work WA5TNY and KD5RO, 3.4 GHz
1987 W7CNK and KA5JPD work WA5TNY and KD5RO, 5.7 GHz
1988 K5JL works WA5ETV, 902 MHz
1988 WA5VJB and KF5N work WA7CJO and KY7B, 10 GHz
2001 W5LUA works VE4MA, 24 GHz
2005 AD6FP, W5LUA and VE4MA work RW3BP, 47 GHz
2005 RU1AA works SM2CEW, 28 MHz
2009 GDØTEP works ZS6WAB, 70 MHz
From ARRL Handbook 2011
1953 W3GKP and W4AO detect lunar echoes on 144 MHz
1960 First amateur 2-way EME contact: W6HB works W1FZJ, 1296 MHz
1964 W6DNG works OH1NL, 144 MHz
1964 KH6UK works W1BU, 432 MHz
1970 WB6NMT works W7CNK, 222 MHz
1970 W4HHK works W3GKP, 2.3GHz
1972 W5WAX and K5WVX work WA5HNK and W5SXD, 50 MHz
1987 W7CNK and KA5JPD work WA5TNY and KD5RO, 3.4 GHz
1987 W7CNK and KA5JPD work WA5TNY and KD5RO, 5.7 GHz
1988 K5JL works WA5ETV, 902 MHz
1988 WA5VJB and KF5N work WA7CJO and KY7B, 10 GHz
2001 W5LUA works VE4MA, 24 GHz
2005 AD6FP, W5LUA and VE4MA work RW3BP, 47 GHz
2005 RU1AA works SM2CEW, 28 MHz
2009 GDØTEP works ZS6WAB, 70 MHz
From ARRL Handbook 2011
วันอังคารที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2553
บรรยากาศการสอบนักวิทยุสมัครเล่นอเมริกาในเมืองไทย 11 ธันวาคม 2553 - US Ham Radio Exam in Thailand 2010
บรรยากาศการสอบนักวิทยุสมัครเล่นอเมริกาในเมืองไทย 11 ธันวาคม 2553 - US Ham Radio Exam in Thailand 2010
สถานที่สอบ ม.กรุงเทพ
HS8GLR, E22TV
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)