เรื่องราวเกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่นโดย HS8JYX (AG6BD)
รวมเรื่องราวเกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่น การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งเรื่อง เครื่องรับ เครื่องส่ง ระบบสายอากาศ การแพร่กระจายคลื่น สายนำสัญญาณ การตรวจซ่อมอุปกรณ์ทั่วไป รูปแบบการติดต่อสื่อสาร ฯลฯ ## hs8jyx สอบผ่านวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น 2539 ขั้นกลาง 2543 US Ham 2553 (ag6bd Extra Class) ## https://www.facebook.com/ag6bd วรวุฒิ ศรีทอง Line ID :: hs8jyx
วันอังคารที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
วันพฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
อธิบาย วงจรเรโซแนนซ์แบบง่าย
วงจร LC เรโซแนนซ์ สร้างได้จากการนำ ขดลวด (หรือใช้ตัวย่อว่า L) และ คาปาซิเตอร์ (ใช้ตัวย่อว่า C) มาต่อร่วมกัน สามารถต่อได้ทั้งแบบขนานและอนุกรม
วันอังคารที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
ข้อสอบพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นสูง :: velocity factor ในสายนำสัญญาณหมายถึงอะไร
E9F01
What is the velocity factor of a transmission line?
A. The ratio of the characteristic impedance of the line to the terminating impedance
B. The index of shielding for coaxial cable
C. The velocity of the wave in the transmission line multiplied by the velocity of light in a vacuum
D. The velocity of the wave in the transmission line divided by the velocity of light in a vacuum
แปลเป็นไทยให้อ่านเข้าใจง่ายว่า
velocity factor ในสายนำสัญญาณหมายถึงอะไร
คำตอบคือ ข้อ D
เป็นค่าที่ได้จากการนำค่าความเร็วที่คลื่นเดินทางในสายนำสัญญาณหารด้วยความเร็วของแสงในสุญญากาศ
* velocity factor อาจจะเรียกอย่างย่อว่า VF
What is the velocity factor of a transmission line?
A. The ratio of the characteristic impedance of the line to the terminating impedance
B. The index of shielding for coaxial cable
C. The velocity of the wave in the transmission line multiplied by the velocity of light in a vacuum
D. The velocity of the wave in the transmission line divided by the velocity of light in a vacuum
แปลเป็นไทยให้อ่านเข้าใจง่ายว่า
velocity factor ในสายนำสัญญาณหมายถึงอะไร
คำตอบคือ ข้อ D
เป็นค่าที่ได้จากการนำค่าความเร็วที่คลื่นเดินทางในสายนำสัญญาณหารด้วยความเร็วของแสงในสุญญากาศ
* velocity factor อาจจะเรียกอย่างย่อว่า VF
ข้อสอบพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นสูง :: ข้อใดต่อไปนี้อธิบายถึงสายอากาศ rhombic แบบ unterminated
E9C04
Which of the following describes a basic unterminated rhombic antenna?
A. Unidirectional; four-sides, each side one quarter-wavelength long; terminated in a resistance equal to its characteristic impedance
B. Bidirectional; four-sides, each side one or more wavelengths long; open at the end opposite the transmission line connection
C. Four-sides; an LC network at each corner except for the transmission connection;
D. Four-sides, each of a different physical length
(รูปสายอากาศ สายอากาศ rhombic แบบ unterminated จากหนังสือข้อสอบของ ARRL)
Which of the following describes a basic unterminated rhombic antenna?
A. Unidirectional; four-sides, each side one quarter-wavelength long; terminated in a resistance equal to its characteristic impedance
B. Bidirectional; four-sides, each side one or more wavelengths long; open at the end opposite the transmission line connection
C. Four-sides; an LC network at each corner except for the transmission connection;
D. Four-sides, each of a different physical length
(รูปสายอากาศ สายอากาศ rhombic แบบ unterminated จากหนังสือข้อสอบของ ARRL)
ข้อสอบพนักงานวิทยุสมัครเล่นขั้นสูง :: อัตราการขยายของสายอากาศเมื่อเทียบกับไดโพล
E9A13
How much gain does an antenna have compared to a 1⁄2-wavelength dipole when it has 6 dB gain over an isotropic antenna?
A. 3.85 dB
B. 6.0 dB
C. 8.15 dB
D. 2.79 dB
แปลเป็นไทยให้อ่านเข้าใจง่ายว่า
สายอากาศมีอัตราขยาย 6 dB เมื่อเทียบกับสายอากาศแบบไอโซโทรปิค สายอากาศต้นนี้จะมีอัตราขยายเท่าไรถ้าเทียบกับสายอากาศแบบไดโพล 1/2 ความยาวคลื่น
How much gain does an antenna have compared to a 1⁄2-wavelength dipole when it has 6 dB gain over an isotropic antenna?
A. 3.85 dB
B. 6.0 dB
C. 8.15 dB
D. 2.79 dB
แปลเป็นไทยให้อ่านเข้าใจง่ายว่า
สายอากาศมีอัตราขยาย 6 dB เมื่อเทียบกับสายอากาศแบบไอโซโทรปิค สายอากาศต้นนี้จะมีอัตราขยายเท่าไรถ้าเทียบกับสายอากาศแบบไดโพล 1/2 ความยาวคลื่น
วันอังคารที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2559
หนังสือ ถาม - ตอบ ข้อสอบวิทยุสมัครเล่น (ขั้นต้น)
ขนาด A5 เนื้อหา 95 หน้า เนื่องจากพิมพ์จำนวนน้อย ต้นทุนค่อนข้างสูง เลยตั้งราคาขายที่ 170 บาท + ค่าส่งแบบลงทะเบียน 30 บาท
ตัวอย่างเนื้องหา https://drive.google.com/file/d/0BxgJ9QX1BWUycUIwNnBUcjd6a3c/view
สั่งซื้อแบบออนไลน์คลิกที่นี่
วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
วันเสาร์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2559
ทดลองสร้างสายอากาศ J pole สำหรับเครื่งส่งวิทยุ FM
ทดลองสร้างสายอากาศ J pole สำหรับเครื่งส่งวิทยุ FM โดยใช้เศษวัสดุที่มี
ผมได้เลือกใช้สูตรคำนวนจากเว็บ http://m0ukd.com/calculators/slim-jim-and-j-pole-calculator/
ตั้งความถี่ไว้กลาง ๆ คือ 100 MHz ความยาวของตัวเสาประมาณ 2.16 เมตร
ผลการทดลองพบว่าใช้ได้ดีกว่าสายอากาศ 1/4 Lambda พอสมควร
ผมได้เลือกใช้สูตรคำนวนจากเว็บ http://m0ukd.com/calculators/slim-jim-and-j-pole-calculator/
ตั้งความถี่ไว้กลาง ๆ คือ 100 MHz ความยาวของตัวเสาประมาณ 2.16 เมตร
ผลการทดลองพบว่าใช้ได้ดีกว่าสายอากาศ 1/4 Lambda พอสมควร
วันพฤหัสบดีที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ทำต้นแบบเครื่องส่งวิทยุ FM ระยะใกล้ใช้ IC BA1404
ได้รับมอบหมายให้ทำเครื่องส่ง FM ระยะใกล้สำหรับการทดลองของนักศึกษา
ผมเลยจำเป็นต้องทำต้นแบบขึ้นมาก่อน ได้ผลงานออกมาตามรูป ผลการใช้งานเป็นที่น่าพอใจ เสียงชัดเจนดีมาก
คู่มือการประกอบ
ผมเลยจำเป็นต้องทำต้นแบบขึ้นมาก่อน ได้ผลงานออกมาตามรูป ผลการใช้งานเป็นที่น่าพอใจ เสียงชัดเจนดีมาก
คู่มือการประกอบ
วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ดัดแปลงเครื่องรับ 21 MHz ให้รับ 14 MHz
จากบทความก่อนหน้า (http://hs8jyx.blogspot.com/2014/06/21-mhz-18-mhz.html) เราเคยดัดแปลงเครื่องรับ 21 MHz ให้รับ 18 MHz ไปแล้ว วันนี้มาดัดแปลงให้รับ 14 MHz กันบ้าง
ดาวน์โหลดเนื้อหาการประกอบเครื่องรับ 21 MHz
(หลังจากประกอบเสร็จทดลองรับสัญญาณจาก YB0JS)
ความถี่ VFO เราจะใช้ค่าเดิมคือ 6 MHz ฉนั้นเราต้องเปลี่ยนความถี่ IF จากที่เคยใช้ 15 MHz สำหรับรับ 21 MHz ก็เปลี่ยนมาเป็น 8 MHz สำหรับ 14 MHz โดยคิดแบบง่าย ๆ จาก 6+8 = 14MHz
เปลี่ยน Crystal filter เป็น 8 MHz และ C เป็น 10pF (ค่า C อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ แล้วแต่คุณสมบัตรของ Crystal)
หม้อแปลง IF MHz เดิมใช้ C 22pF สำหรับเครื่องรับ 21 MHzให้เปลี่ยนเป็น 68pF สำหรับเครื่องรับ 14 MHz
Crystal ในวงจร BFO ก็เปลี่ยนเป็น 8 MHz ด้วย
เนื่องจากแบนด์ 14 MHz มีความกว้างของแบนด์ถึง 350 KHz ขดลวด L1 เราจึงต้องแบ่งเป็น 2 ช่วง เพื่อให้สะดวกต่อการจูนความถี่
พัน 27 รอบถ้าต้องการรับ ระบบ CW -digital
พัน 26 รอบถ้าต้องการรับระบบ SSB
C38 ค่า 20 pF อาจจะเปลี่ยนเป็น 30 pF เพื่อให้สามารถจูนความถี่ได้กว้างขึ้น หรือจะคงค่าเดิมไว้ก็ได้
สุดท้ายวงจร 14 MHz bandpass filter เปลี่ยนแปลงค่าอะไหล่ตามรูป เมื่อเปลี่ยนเสร็จต่อสายอากาศปรับจูน Trimmer Capacitor จนรับสัญญาณได้แรงที่สุดแค่นี้ก็สามารถรับสัญญาณ 14 MHz ได้ดีไม่แพ้เวอร์ชั่น 21 MHz เลยครับ
รูปแสดงอุปกรณ์ที่ต้องเปลี่ยนแปลง
ดาวน์โหลดเนื้อหาการประกอบเครื่องรับ 21 MHz
(หลังจากประกอบเสร็จทดลองรับสัญญาณจาก YB0JS)
ความถี่ VFO เราจะใช้ค่าเดิมคือ 6 MHz ฉนั้นเราต้องเปลี่ยนความถี่ IF จากที่เคยใช้ 15 MHz สำหรับรับ 21 MHz ก็เปลี่ยนมาเป็น 8 MHz สำหรับ 14 MHz โดยคิดแบบง่าย ๆ จาก 6+8 = 14MHz
เปลี่ยน Crystal filter เป็น 8 MHz และ C เป็น 10pF (ค่า C อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ แล้วแต่คุณสมบัตรของ Crystal)
หม้อแปลง IF MHz เดิมใช้ C 22pF สำหรับเครื่องรับ 21 MHzให้เปลี่ยนเป็น 68pF สำหรับเครื่องรับ 14 MHz
Crystal ในวงจร BFO ก็เปลี่ยนเป็น 8 MHz ด้วย
พัน 27 รอบถ้าต้องการรับ ระบบ CW -digital
พัน 26 รอบถ้าต้องการรับระบบ SSB
C38 ค่า 20 pF อาจจะเปลี่ยนเป็น 30 pF เพื่อให้สามารถจูนความถี่ได้กว้างขึ้น หรือจะคงค่าเดิมไว้ก็ได้
สุดท้ายวงจร 14 MHz bandpass filter เปลี่ยนแปลงค่าอะไหล่ตามรูป เมื่อเปลี่ยนเสร็จต่อสายอากาศปรับจูน Trimmer Capacitor จนรับสัญญาณได้แรงที่สุดแค่นี้ก็สามารถรับสัญญาณ 14 MHz ได้ดีไม่แพ้เวอร์ชั่น 21 MHz เลยครับ
รูปแสดงอุปกรณ์ที่ต้องเปลี่ยนแปลง
วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
ชุดคิทเครื่องรับ 7MHz สำหรับเอาไปประกอบเอง
ชุดคิทเครื่องรับวิทยุ 7 MHz สำหรับนำไปฝึกประกอบ (ไม่มีกล่อง และลำโพง)
สนใจติดต่อทางไลน์ hs8jyx
คู่มือ รายละเอียดวงจรคลิก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)